วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี
ข้อสอบเก็บคะแนน วิชาหลักเศรษฐศาสตร์ (3200-1001)
บทที่ 1-4 จำนวน 24 ข้อ
คำชี้แจง
: ข้อสอบมีทั้งหมด 2 ตอน ประกอบด้วย
ตอนที่
1 เป็นข้อสอบปรนัยมี 20 ข้อ ให้ทำเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในกระดาษคำตอบ โดยให้เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว (10
คะแนน)
ตอนที่
2 เป็นข้อสอบอัตนัย มี 4 ข้อ ให้ทำทุกข้อ โดยทำลงในกระดาษคำตอบที่เตรียมไว้ให้
(10
คะแนน)
ตอนที่
1
1.
ในระยะเวลาที่สั้นมากๆ ความยืดหยุ่นของอุปทานจะมีค่าเท่าไร
ก. เท่ากับ 0 ข. เท่ากับ
1 ค. มากกว่า
1
ง. น้อยกว่า 1 จ. เท่ากับ
∞
2. เมื่อผู้บริโภคได้รับสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ อรรถประโยชน์ที่เขาได้รับจากการบริโภคสินค้าชิ้นสุดท้ายจะลดลงตามลาดับ
เนื่องจากเหตุผลข้อใด
ก. กฎการลดลงของผลผลิตหน่วยสุดท้าย
ข. กฎการลดลงของอรรถประโยชน์หน่วยสุดท้าย
ค. กฎของอุปสงค์ ง. กฎของอุปทาน จ. กฎการลดลงของรายได้
3.
ประเทศไทยอยู่ในระบบเศรษฐกิจแบบใด
ก. เสรี ข.
สังคมนิยม ค.
ทุนนิยม
ง. มีการวางแผน จ. ผสม
4.
ปัจจัยการผลิตในทางเศรษฐศาสตร์ ได้แก่ข้อใด
ก. ที่ดิน แรงงาน ทุน ข. เงิน วัสดุอุปกรณ์ คน ค.
ที่ดิน แรงงาน ทุน ผู้ประกอบการ
ง. เทคโนโลยี เงินทุน จ. ไม่มีข้อใดถูก
5.
ปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดอุปทาน คือข้อใด
ก. ราคาสินค้าที่เกี่ยวข้อง ข. ราคาสินค้าชนิดนั้น ค. รายได้
ง. ค่านิยม จ.
ค่าใช้จ่ายในการโฆษณา
6.
เมื่อราคาสินค้าอยู่ ในระดับที่สูงกว่าราคาดุลยภาพจะเกิดเหตุการณ์ใดขึ้น
ก. ผู้บริโภคมีความพอใจลดลง ข.
สินค้าขาดตลาด ค.
สินค้าล้นตลาด
ง. ภาวะดุลยภาพ จ.
อุปสงค์ส่วนเกิน
7. บริษัทควรลดราคาสินค้าเพื่อให้มีรายรับรวมที่สูงขึ้น
ในกรณีที่สินค้าของบริษัทมีค่าความ ยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาเท่าไร
ก. เท่ากับ 0 ข. เท่ากับ 1 ค.
มากกว่า 1
ง. น้อยกว่า 1 จ.
เท่ากับ ∞
8.
ดุลยภาพของผู้บริโภคตามทฤษฎีอรรถประโยชน์แบบเรียงลาดับจะเกิดขึ้นเมื่อใด
ก. บริโภคสินค้าในสัดส่วนที่ให้ความพอใจเท่ากัน
ข. บริโภคสินค้าในสัดส่วนที่เสียเงินเท่ากัน
ค. บริโภคสินค้าในสัดส่วนที่เส้นอุปสงค์เท่ากับอุปทาน
ง. บริโภคสินค้าในสัดส่วนที่เส้นความพอใจเท่ากันตัดกับเส้นงบประมาณ
จ. บริโภคสินค้าในสัดส่วนที่เส้นความพอใจเท่ากันสัมผัสกับเส้นงบประมาณ
9.
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้จะมีเครื่องหมายลบในกรณีใด
ก. สินค้าจาเป็น ข. สินค้าฟุ่มเฟือย ค. สินค้าที่ใช้ทดแทน
ง. สินค้าที่ใช้ประกอบกัน จ. สินค้าด้อยคุณภาพ
10.
เมื่อรายได้ของนายแดงสูงขึ้น เขาบริโภคสินค้า A มากขึ้น A เป็นสินค้าประเภทใด
ก. สินค้าฟุ่มเฟือย ข. สินค้าจาเป็น ค.
สินค้าปกติ
ง. สินค้าด้อยคุณภาพ จ. สินค้าที่ใช้ทดแทนกัน
11.
ถ้าสินค้า A มีค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาเท่ากับ
-0.5 ท่านคิดว่า A จัดอยู่ในสินค้าประเภทใด
ก. สินค้าจำเป็น ข. สินค้าฟุ่มเฟือย ค. สินค้าที่ใช้ทดแทน
ง. สินค้าที่ใช้ประกอบกัน จ. สินค้าด้อยคุณภาพ
12.
ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ เกิดขึ้นเนื่องจากเหตุผลใด
ก. แรงงานในระดับสูงมีไม่เพียงพอ ข.
เงินทุนมีจากัด ค.
รัฐบาลมีนโยบายเศรษฐกิจที่ไม่ชัดเจน
ง. ทรัพยากรมีจากัดเมื่อเทียบกับความต้องการของคนในประเทศ จ. สภาวะการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม
13.
อรรถประโยชน์ หมายถึงข้อใด
ก. ประโยชน์ที่ผู้บริโภคได้รับจากการบริโภคสินค้า
ข. ประโยชน์ที่ผู้บริโภคได้รับจากการบริโภคสินค้าชิ้นสุดท้าย
ค. ความพอใจที่ผู้บริโภคได้รับจากการบริโภคสินค้า
ง. ความพอใจที่ผู้บริโภคได้รับจากการบริโภคสินค้าชิ้นสุดท้าย
จ. ที่ผู้บริโภคได้รับจากการบริโภคสินค้าจากการบริโภคสินค้าที่ตนเองชอบเท่านั้น
14.
กรณีที่บริโภคสินค้า A เพียงชนิดเดียว ดุลยภาพของผู้บริโภคจะเกิดขึ้นเมื่อใด
ก. MUA/PB =
MUB/PA ข.
MUA = MUB ค.
MUA = PA
ง. MUA/PA =
MUB/PB จ.
PA = PB
15.
ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ คือข้อใด
ก. ราคาปัจจัยการผลิต ข. ราคาสินค้าชนิดนั้น ค.
ระดับเทคโนโลยีการผลิต
ง. ต้นทุนการผลิต จ. สภาพแวดล้อมทั่วไป
16.
เส้นที่แสดงให้เห็นถึงสัดส่วนการบริโภคสินค้าสองชนิดที่ต่างกันแต่ให้ความพอใจเท่ากันคือเส้นใด
ก. เส้นรายได้ ข. เส้นงบประมาณ
ค. เส้นการบริโภค
ง. เส้นอุปสงค์ จ. เส้นความพอใจเท่ากัน
17.
ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีแก้ไขปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจได้อย่างไร
ก. วางแผนการผลิตและจาหน่ายล่วงหน้า ข.
ปล่อยให้กลไกตลาดทางาน
ค. จัดสรรงบประมาณที่เป็นธรรม ง.
ออกกฎหมาย
จ. จัดตั้งหน่วยงานแก้ไขปัญหาโดยเฉพาะ
18. กรณีที่ราคาสินค้า X สูงขึ้นแล้วมีผลทาให้ความต้องการซื้อสินค้า
Y ลดลง ท่านคิดว่าสินค้า X และ Y มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
ก. สินค้าปกติ ข.
สินค้าด้อยคุณภาพ ค.
สินค้าที่ใช้ประกอบกัน
ง. สินค้าที่ใช้ทดแทนกัน จ.
ไม่มีความสัมพันธ์กันเลย
19.
ข้อใดจัดว่าเป็นการศึกษาเศรษฐศาสตร์จุลภาค
ก. การกำหนดเป้าหมายการเติบโตทางเศรษฐกิจ
ข. การเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
ค. การกำหนดราคาและปริมาณการผลิตของบริษัท B เพื่อให้ได้รับกาไรสูงสุด
ง. การกำหนดมาตรการเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ
จ. การกำหนดนโยบายการศึกษาของรัฐ
20.
สินค้าที่มีค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาค่อนข้างมากคือข้อใด
ก. ไฟฟ้า ข ยารักษาโรค ค น้ำหอม
ง อาหาร จ น้ำประปา
ตอนที่ 2
1. นางสาวสมชาย
ต้องการซื้อสินค้า 2 ชนิดไปประกอบอาหาร คือ กิ่งก่า และกบ
กิ่งก่าราคาตัวละ 38 บาท กบราคาตัวละ 40 บาท นางสาวสมชายจะซื้อ กิ่งก่า จำนวน 200 ตัว
และซื้อ กบ จำนวน 150 ตัว ถ้าราคากิ่งก่าตัวละ 42 บาท
สมชายจะซื้อเพียง 160 ตัว และจะซื้อกบ จำนวน 180 ตัว โดยที่ราคากบยังคงเดิม จงหาค่าความยืดหยุ่นไขว้ของ อุปสงค์ของกบ ที่มีต่อราคาของกิ่งก่า (4
คะแนน)
2. ถ้าราคาไก่ทอดชิ้นละ 12 บาท นักศึกษาจะซื้อ 200 ชิ้น แต่ถ้าราคาลดลงเหลือชิ้นละ 10 บาท
นักศึกษาจะซื้อ 300 ชิ้น จงหาค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์แบบจุดของไก่ทอด
ว่ามีลักษณะอย่างไร (2 คะแนน)
3. นางสาวเขียด
ซื้อเสื้อผ้าสำเร็จรูปที่ตัดเย็บคราวละมากๆ (เสื้อโหล) เป็นประจำ ถ้านางสาวเขียด
มีรายได้เดือนละ 4,000 บาท เขาจะซื้อเสื้อชนิดนี้เดือนละ 3
ตัว แต่ถ้าเขามีรายได้เพิ่มขึ้นเป็น 5,000 บาท
เขาจะซื้อน้อยลงเหลือเดือนละ 2 ตัว
จงหาความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ในการซื้อเสื้อผ้าสำเร็จรูปของนางสาวเขียด (2
คะแนน)
4.
ราคามะม่วงในตลาดหนองบัวกิโลกรัมละ 15 บาท
ตามราคาที่กล่าวนี้จะมีผู้ซื้อมะม่วงรวมวันละ 200 กิโลกรัม
แต่ถ้าราคาลดลงเหลือเพียงกิโลกรัมละ 14 บาท จะมีผู้ซื้อมะม่วงปริมาณมากขึ้นเป็นวันละ
240 กิโลกรัม
จงหาค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ที่มีต่อราคาของมะม่วงในตลาดแห่งนี้ (2 คะแนน)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น